บทความ

AS/RS

รูปภาพ
Automated storage/retrieval systems (as/rs) คืออะไร ? ระบบการจัดเก็บแบบ  Automated storage / retrieval systems  ( as/rs )  หมายถึง การทำงานของระบบจัดเก็บในคลังสินค้าหรือโกดัง ที่มีการควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ตั้งแต่การจัดเก็บวัสดุ, การรับวัสดุ รวมทั้งการเคลื่อนที่ของอุปกรณ์ขนถ่าย ที่ทำงานร่วมกับโรงงานและคลังสินค้า ซึ่งสามารถออกแบบการใช้งานให้เหมาะสมกับการทำงานลักษณะต่างๆ ได้ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์ แบบ  AS/RS  จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์  AS/RS  ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ระบบจัดเก็บสินค้าอัตโนมัติ (ASRS) ในปัจจุบัน บริษัทฯ มีสำนักงานสาขา 19 สาขา ที่กระจายอยู่ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ ซึ่งเชื่อมโยง ถึงกันด้วยระบบคอมพิวเตอร์ออนไลน์ผ่านเครือ ข่าย Wide Area Network (WAN) และการประชุม ทางไกลผ่านระบบ VDO Conference อันทันสมัย และบริษัทฯ ได้จัดซื้อระบบ Automatic Storage and Retrieval System (ASRS) ซึ่งเป็นระบบบริหารคลังสินค้าอัตโนมัติที่ใช้ระบบแขนกลอัจฉริยะ (Robot Arm) และควบคุมด้วยคอมพิ

รถ AGV

รูปภาพ
รถ AGV AGV (Automated Guided Vehicle) คือรถลำเลียงสินค้าอัตโนมัติโดยใช้แถบแม่เหล็ก วิชั่น หรือเลเซอร์ เป็นตัวบอกทิศทางให้กับรถเวลาเคลื่อนที่ ส่วนมากใช้ในงานอุตสาหกรรม/โรงงาน/คลังสินค้า ไว้ลำเลียงสินค้า/ชิ้นงาน จากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่ง ปัจจุบัน AGV เป็นที่นิยมมากขึ้นเนื่องจาก AGV ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน ลดข้อผิดพลาดหรือปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้แรงงานคน                                        

สายพานลำเลียง

รูปภาพ
ระบบสายพานลำเลียง (Conveyor) u มีจุดรับส่งโหลดตายตัว u มีเส้นทางการส่งวัสดุตายตัว u มักจะใช้ส่งงานเป็นชิ้น u อาศัยการทำงานทางกล บางครั้งมีการทำงานให้เป็นอัตโนมัติ u มีทั้งการติดตั้งบนพื้นและเหนือศีรษะ u การขับเคลื่อนจะเกิดที่สายพาน ระบบสายพานลำเลียงมี 4 ประเภท 1. ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) ระบบสายพานลำเลียง Plastic Belt Conveyor System (แบบพลาสติก) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุขึ้นในแนวลาดเอียง ในไลน์การผลิตที่มีการลำเลียงต่างระดับ ระบบสายพานลำเลียงแบบพลาสติก สามารถลำเลียงผ่านน้ำหรือลำเลียงชิ้นงานที่เปียกได้ 2. ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ) ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุ ระบบสายพานลำเลียงแบบผ้าใบ สามารถทนความร้อนได้และมีความยืดหยุ่นค่อนข้างน้อยเมื่อรับแรงดึง ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียงแบบผ้าใบจะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง 3. ระบบสายพานลำเลียง PVC Belt Conveyor System (แบบ PVC) ระบบสายพานลำเลียง PVC Be

เครื่องจักร NC CNC DNC

รูปภาพ
เครื่องจักร NC  เครื่องจักรNC   ย่อมาจาก Numerical Control  หมายถึงการควบคุมการทำงานของเครื่อง NC ด้วยคำสั่งเชิงตัวเลขและตัวอักษรที่ถูกสร้างขึ้นมาในรูปของคำสั่งซึ่งก็คือ โปรแกรม NC. ระบบ NC ซึ่งนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ.1950 ซึ่งส่วนมากจะถูกนำมาใช้ในการควบคุมการทำงานของเครื่องมือกลเป็นส่วนใหญ่. ในปัจจุบันระบบ NC จะถูกแทนที่ด้วยระบบ NC เกือบทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากว่าในระบบ NC ไม่มีคอมพิวเตอร์ เข้ามาช่วยในการทำงาน อีกทั้งเครื่องจักรที่ถูกควบคุมด้วย NC ก็ไม่มีการผลิตออกมาใช้งานแล้ว. ระบบ NC มีส่วนประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ        1.ชุดคำสั่ง (Programmed) คือคำสั่งในแต่ละขั้นตอนเพื่อกำหนดให้เครื่องจักร NC ทำงานตามที่เราต้องการ โดยที่ชุดคำสั่งนี้จะถูกสร้างขึ้นในลักษณะของตัวเลข ตัวอักษรสัญลักษณฺ์ต่างๆ แล้วเก็บไว้ในเทปกระดาษที่เจาะรู เมื่อจะนำไปใช้งานก็จะใช้เครื่องอ่านเทปเพื่อแปลรหัสคำสั่งให้ทำงานตามขั้นตอน.        2.หน่วยควบคุมการทำงานของเครื่องหรือเอ็มซียู (MCU : Machine Control Unit) คือส่วนที่ทำหน้าที่อ่านและตีความหมายของคำสั่งเพื่อแยกคำสั่งออกเป็นสัญญาณไ

หุ่นยนต์

รูปภาพ
ในปัจจุบันภาคอุตสาหกรรมการผลิต มีการแข่งขันที่เพิ่มขึ้น การเกิดตลาดใหม่ การเพิ่มขึ้นของคู่แข่งในภูมิภาค และประเทศคู่แข่งทางการผลิตที่มีความพร้อมของค่าจ้างแรงงาน สร้างผลกระทบต่อผู้รับจ้างผลิตของไทย ทั้งด้านต้นทุน คุณภาพ และความสามารถในการผลิต ซึ่งทำให้รูปแบบการผลิตที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันนี้ มีความจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน เพื่อเพิ่มความสามารถการแข่งขันกับคู่แข่งในระดับภูมิภาคและระดับโลก และสายการผลิตแบบอัตโนมัตินั้นได้มีการใช้งานกันในระบบการผลิตของภาคอุตสาหกรรมเป็นปกติอยู่แล้ว แต่มักเป็นผู้ประกอบการขนาดใหญ่หรือมาจากการย้ายฐานหรือเทคโนโลยีการผลิตแบบอัตโนมัติมาพร้อมกับการเริ่มต้นธุรกิจ สถานการณ์ปัจจุบันกับการเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันระบบการผลิตแบบอัตโนมัติได้มีการพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพ และมีราคาที่ผู้ประกอบการผลิตอุตสาหกรรม ขนาดกลางและเล็กสามารถเข้าถึงและใช้งานได้ และมีโซลูชั่นมากมายหลายรูปแบบ แต่การเลือกระบบอัตโนมัติ มิได้พิจารณาเฉพาะด้านต้นทุน คุณภาพ และความสามารถในการผลิต ยังมีปัจจัยเรื่องความยากง่ายในการใช้งาน การอัพเกรด การซ่อมบำรุง การใช้พลังงาน ตัวบุคลากรผู้ใช้งาน ทำให้ผู้ใช้งาน เก

เราเพื่อนกัน

สมาชิกในห้อง อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชค             อาจารย์ปาม นาย ชนัตร  กาญจนะเเก้ว           เต้ย นาย นนธวัช อินทรงค์                 นน นาวสาว รุสมี เขร็มกา                  มี่ นาย ภควัฒน์ ศรีสุวรรณ              อาร์ม นาย ณัฐรินทร์ ลือวิพันธ์             แทน นาย อิทธิกร วิจารณบูรณ์           อาท นาย ปิยะณัฐ ช่วยมั่ง                โดม นาย วัสพล ศรีวรรณ                ดิว นางสาว สุนิษา ฟองมณี         ปาม นาย วรโชติ โภชน์สารี            คิม นาย ณัฐวัฒน์ หนูประพันธ์        คอม นาย พลธกร ปานจรูญ              โน นางสาว สุทธิดา หนูปลอด        มะหมิว นางสาว ขนิษฐา แดงนำ            นิ้ง นาย อิมรอม เบ็นหมัดหนิ         รอน นางสาว สุวดี ทองรักษ์          เดียร์ นาย อนุชา สุภาพบุรุษ            ก๊อต นาย ภูริทัติ ศรีสวัสดิ์              ภู นางสาว เบญา ทองย้อย       บัว นางสาว หิรัณยา บุญแก้ว      บีม นาย วีรวัฒน์ เสาวคนธ์        แม็ค นาย ศราวุธ บูหมิ                 ฟิก นาย พงศ์ศิริ ปิ่นพงค์          เต้ย นางสาว กนิษฐา หนูนุ่น      ฝนตก นาย สถาพร

ประวัติส่วนตัว

รูปภาพ
ชื่อ นายธีรภัทร บุญช่วย รหัสนักศึกษา 614703009 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม โปรแกรมวิชา เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์อุตสาหกรรม เบอร์โทร 0980917154